ยาเสพติดพิษภัยต่อสุขภาพคุณ
ค้นหาบล็อกนี้
24 กุมภาพันธ์ 2558
12 กุมภาพันธ์ 2558
ปกรายชื่อผู้จัดทำ
เรื่อง ยาเสพติดพิษภัยสุขภาพคุณ
โดย
1.นาย
ณัฐนนท์ คุ้มครุฑ เลขที่ 37
2.นาย
ศาสวัฒณ์ เกียรติอาคม เลขที่ 40
3.นาย
ปรัชญา อารีวงค์ เลขที่ 42
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่
5/1
ครูที่ปรึกษา
นาง ลักษมี จันทร์เวชศิลป์
นาง นพวรรณ ทับทิมทอง
นาง เกศินี สุทธิ
นาง นพวรรณ ทับทิมทอง
นาง เกศินี สุทธิ
รายงานนี้เป็นส่วนประกอบของการนำเสนอผลงานการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
(IS)
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557
โรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคม ตำบลท่าทอง อำเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก
โรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคม ตำบลท่าทอง อำเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก
เค้าโครง IS3
เค้าโครง IS3
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557
2.ผู้จัดทำ
1.นาย ณัฐนนท์ คุ้มครุฑ เลขที่ 37
2.นาย ศาสวัฒณ์ เกียรติอาคม เลขที่ 40
3.นาย ปรัชญา อารีวงค์ เลขที่ 42
3.ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา IS
นาง ลักษมี จันทร์เวชศิลป์
นาง นพวรรณ ทับทิมทอง
นาง เกศินี สุทธิ
4.ที่มาและความสำคัญ
ปัจจุบันปัญหายาเสพติดเป็นปัญหาสำคัญประการหนึ่งของประเทศซึ่งเป็นบ่อนทำลายทรัพยากรละความมั่นคงของประเทศชาติและสังคมเป็นอย่างมาก หน่วยงานต่างๆได้มีการดำเนินงานในทุกวิถีทางที่จะป้องกันและปราบปรามมิให้มีการเสพ การซื้อขาย และการผลิตยาเสพติด แต่เนื่องจากปัญหายาเสพติดเป็นปัญหาที่มีความยุ่งยากและซับซ้อน
นอกจากผู้ใหญ่จะติดยาเสพติด ก็ยังมีเยาวชนไทยอายุน้อยๆลงไป ติดยาเสพติดเหล่านี้อีกด้วย ซึ่งยาเสพติดนอกจากจะทำลายสุขภาพแล้ว อาจนำไปสู่ปัญหาอาชญากรรม ทำให้เกิดปัญหาต่อสังคม กระทบกระเทือนต่อประชาชนผู้ที่ไม่ได้ติดยาเสพติดอีกด้วย สาเหตุการติดยาเสพติดในปัจจุบันมีหลายสาเหตุ อาทิเช่น ทัศนคติไม่ถูกต้อง หรือ ครอบครัวไม่มีเวลาให้บุตรหลาน บุตรหลานอาจจะถูกชักนำจากผู้อื่นไปเสพสิ่งเสพติด หรือถูกหลอกลวงไปในทางที่ผิด หรือแม้แต่ พ่อแม่หย่าร้างกัน ก็อาจเป็นสาเหตุที่ทำให้บุตรหลานไปเสพยาเสพติดได้
ผู้จัดทำจึงมีแนวคิดที่จะทำโครงงาน “ยาเสพติดพิษภัยสุขภาพคุณ” ในอนาคตหากเด็กๆต้องออกไปเผชิญชีวิตตามลำพังภายนอก โดยที่ไม่มีความรู้เรื่องพิษภัย และวิธีที่จะหลีกหนีให้พ้นจากยาเสพติดแล้ว ก็มีโอกาสที่เด็กจะติดยาเสพติดได้ ผู้จัดทำโครงงานจึงมีความต้องการที่จะทำโครงงานนี้ขึ้นโดยมุ้งเน้นให้เด็กได้รู้ถึงพิษภัย และรู้ถึงวิธีจะหลีกหนีให้ห่างไกลจากยาเสพติดทั้งหลาย เพื่อจะได้นำความรู้ ที่ได้รับไปเป็นแนวทางในการป้องกันตัวเองให้ห่างไกลจาก ยาเสพติดต่อไป
5.วัตถุประสงค์
1.เพื่อศึกษาและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับยาเสพติด
2.เพื่อรณรงค์และมุ่งหมายให้เยาวชนห่างไกลจากยาเสพติด
2.เพื่อรณรงค์และมุ่งหมายให้เยาวชนห่างไกลจากยาเสพติด
3.เพื่อเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับยาเสพติดและเสนอแนะวิธีแก้ไขปัญหายาเสพติด
6.ขอบเขตของการทำงาน
1.สถานที่ปฏิบัติงาน โรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคม
2.ระยะเวลาการปฏิบัติงาน พฤษภาคม 2557 – 30 กันยายน 2557 แล้วเผยแพร่ทางInternet
2.ระยะเวลาการปฏิบัติงาน พฤษภาคม 2557 – 30 กันยายน 2557 แล้วเผยแพร่ทางInternet
7.วิธีการดำเนินการ
1.คิดหัวข้อที่จะทำการศึกษา
2.หาข้อมูล
3.วิเคราะห์คิดเลือกข้อมูลที่ต้องการ
2.หาข้อมูล
3.วิเคราะห์คิดเลือกข้อมูลที่ต้องการ
4.ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติม
5.นำข้อมูลมาสรุป เรียบเรียน
6.นำเสนอผลงานเค้าโครง
5.นำข้อมูลมาสรุป เรียบเรียน
6.นำเสนอผลงานเค้าโครง
8.ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ได้ความรู้จากเรื่องที่ศึกษา เรื่อง ยาเสพติดพิษภัยสุขภาพคุณ
ความหมาย
ความหมายของยาเสพติด
ยาเสพติด หมายถึง สารใดก็ตามที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ
หรือสารที่สังเคราะห์ขึ้นเมี่อนำเข้าสู่ร่างกาย ไม่ว่าจะโดยวิธี รับประทาน ดม สูบ
ฉีด หรือด้วยวิธีการใด ๆ แล้ว ทำให้เกิดผลต่อร่างกายและจิตใจนอกจากนี้ยังจะทำให้เกิดการเสพติดได้หากใช้สารนั้นเป็นประจำทุกวัน
หรือวันละหลาย ๆ ครั้ง
ลักษณะสำคัญของสารเสพติดจะทำให้เกิดอาการ
และอาการแสดงต่อผู้เสพดังนี้
๑.เกิดอาการดื้อยา หรือต้านยา และเมื่อติดแล้ว ต้องการใช้สารนั้นในประมาณมากขึ้น
๒. เกิดอาการขาดยาถอนยา หรืออยากยา เมื่อใช้สารนั้นเท่าเดิม ลดลง หรือหยุดใช้
๓. มีความต้องการเสพทั้งทางร่างกายและจิตใจอย่างรุนแรงตลอดเวลา
๔.สุขภาพร่างกายทรุดโทรมลงเกิดโทษต่อตนเอง ครอบครัว ผู้อื่น ตลอดจนสังคม และประเทศชาติ
๑.เกิดอาการดื้อยา หรือต้านยา และเมื่อติดแล้ว ต้องการใช้สารนั้นในประมาณมากขึ้น
๒. เกิดอาการขาดยาถอนยา หรืออยากยา เมื่อใช้สารนั้นเท่าเดิม ลดลง หรือหยุดใช้
๓. มีความต้องการเสพทั้งทางร่างกายและจิตใจอย่างรุนแรงตลอดเวลา
๔.สุขภาพร่างกายทรุดโทรมลงเกิดโทษต่อตนเอง ครอบครัว ผู้อื่น ตลอดจนสังคม และประเทศชาติ
ความหมายโดยทั่วไป
ยาเสพติด
หมายถึง สารหรือยาที่อาจเป็นผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติหรือจากการสังเคราะห์ซึ่งเมื่อบุคคลใดเสพหรือได้รับเข้าไปในร่างกายซ้ำๆ
กันแล้วไม่ว่า ด้วยวิธีใดๆเป็นช่วงระยะๆ หรือนานติดต่อกันก็ตาม จะทำให้
1.บุคคลนั้นต้องตกอยู่ใต้อำนาจหรือเป็นทาสของสิ่งนั้นทางด้านร่างกายและจิตใจ หรือจิตใจเพียงอย่างเดียว
2. ต้องเพิ่มปริมาณการเสพขึ้นเรื่อยๆหรือทำ ให้สุขภาพของผู้เสพติดเสื่อมโทรมลง
3. เมื่อถึงเวลาอยากเสพแล้วไม่ได้เสพจะมีอาการผิดปกติทางด้านร่างกายและจิตใจ หรือเฉพาะทางด้านจิตใจเกิดขึ้นในผู้เสพ
1.บุคคลนั้นต้องตกอยู่ใต้อำนาจหรือเป็นทาสของสิ่งนั้นทางด้านร่างกายและจิตใจ หรือจิตใจเพียงอย่างเดียว
2. ต้องเพิ่มปริมาณการเสพขึ้นเรื่อยๆหรือทำ ให้สุขภาพของผู้เสพติดเสื่อมโทรมลง
3. เมื่อถึงเวลาอยากเสพแล้วไม่ได้เสพจะมีอาการผิดปกติทางด้านร่างกายและจิตใจ หรือเฉพาะทางด้านจิตใจเกิดขึ้นในผู้เสพ
ความหมายตามกฎหมาย
ความหมายตามกฎหมาย
ยาเสพติดให้โทษ หมายความว่า สารเคมี หรือวัตถุชนิดใดๆ
ซึ่งเมื่อเสพเข้าสู่ร่างกายไม่ว่าจะโดยรับประทานดม สูบฉีด หรือด้วยประการใดๆ แล้ว ทำให้เกิดผลต่อร่างกายและจิตใจในลักษณะสำคัญเช่นต้องเพิ่มขนาดการเสพเรื่อยๆ
มีอาการถอนยาเมื่อขาดยามีความต้องการเสพทั้งทางร่างกายและจิตอย่างรุนแรงอยู่ตลอดเวลาและสุขภาพโดยทั่วไปจะทรุดโทรมลงกลับให้รวมถึงพืช
หรือ ส่วนของพืชที่เป็น หรือให้ผลผลิตเป็นยาเสพติดให้โทษ หรืออาจใช้ผลิตเป็นยาเสพติดให้โทษและสารเคมีที่ใช้ในการผลิตยาเสพติดให้โทษดังกล่าวด้วย
ทั้งนี้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขประกาศในราชกิจจานุเบกษาแต่ไม่หมายความถึง
ยาสำคัญประจำบ้านบางตำรับตามที่กฎหมายว่าด้วยยาที่มี ยาเสพติดให้โทษผสม
ความหมายของยาเสพติด ยาเสพติดให้โทษ หรือสิ่งเสพติดหมายถึง
ยาหรือสารเคมีหรือวัตถุชนิดใดๆ เมื่อเสพเข้าสู่ร่างกายแล้วไม่ว่าจะโดยรับประทาน ดม
สูบ ฉีด หรือวิธีใดก้ตาม ทำให้เกิดผลต่อร่างกายและจิตใจ ดังนี้
1. ต้องการยาเสพติดตลอดเวลา แสดงออกทางร่างกายและจิตใจ
2. ต้องเพิ่มขนาดของยาเสพติดมากขึ้น
3. มีอาการหยากหรือหิวยาเมื่อขาดยา (บางท่านจะมีอาการถอนยาเมื่อขาดยา)
4. สุขภาพทั่วไปทรุดโทรม
ถ้าพบเห็นบุคคลที่มีพฤติกรรม 4 ประการ ให้พึงสังเกตว่าอาจจะเป็นคนที่ใช้ยาเสติด
2. ต้องเพิ่มขนาดของยาเสพติดมากขึ้น
3. มีอาการหยากหรือหิวยาเมื่อขาดยา (บางท่านจะมีอาการถอนยาเมื่อขาดยา)
4. สุขภาพทั่วไปทรุดโทรม
ถ้าพบเห็นบุคคลที่มีพฤติกรรม 4 ประการ ให้พึงสังเกตว่าอาจจะเป็นคนที่ใช้ยาเสติด
ประเภทของยาเสพติด
ประเภทของยาเสพติด
ปัจจุบัน สิ่งเสพติดหรือยาเสพติดให้โทษมีหลายประเภท
อาจจำแนกได้หลายเกณฑ์ นอกจากแบ่งตามแหล่งที่มาแล้ว
ยังแบ่งตามการออกฤทธิ์และแบ่งตามกำกฎหมายดังนี้
ก.จำแนกตามสิ่งเสพติดที่มา
1. ประเภทที่ได้จากธรรมชาติ เช่น ฝิ่น มอร์ฟีน กระท่อม กัญชา
2. ประเภทที่ได้จากการสังเคราะห์ เช่น เฮโรอีน ยานอนหลับ ยาม้า
แอมเฟตามีน สารระเหย
ข.จำแนกสิ่งเสพติดตามกฎหมาย
1. ประเภทถูกกฎหมาย เช่น ยาแก้ไอน้ำดำ บุหรี่ เหล้า กาแฟ ฯลฯ
2. ประเภทผิดกฎหมาย เช่น มอร์ฟีน ฝิ่น เฮโรอีน กัญชา กระท่อม
แอมเฟตามีน ฯลฯ
ค.การจำแนกสิ่งเสพติดตามการออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทส่วนกลาง
1.ประเภทกดประสาท เช่น ฝิ่น มอร์ฟีน เฮโรอีน ยากล่อมประสาท
ยาระงับประทสาท ยานอนหลับ สารระเหย เครื่องดื่มมึนเมา เช่นเหล้า เบียร์ ฯ
2. ประเภทกระตุ้นประสาท เช่น แอมเฟตามีน ยาม้า ใบกระท่อม บุหรี่
กาแฟ โคคาอีน
3. ประเภทหลอนประสาท เช่น แอล เอส ดี,เอส ที
พี,น้ำมันระเหย
4. ประเภทออกฤทธิ์ผสมผสาน อาจกด กระตุ้น
หรือหลอนประสาทผสมรวมกันได้แก่ กัญชา
สาเหตุที่ทำให้ติดยาเสพติด
สาเหตุที่ทำให้ติดยาเสพติด
1.
ติดเพราะฤทธิ์ของยา
เมื่อร่างกายมนุษย์ได้รับยาเสพติดเข้าไปฤทธิ์ของยาเสพติดจะทำให้ระบบต่างๆ
ของร่างกายเปลี่ยนแปลงไป ซึ่งถ้าการใช้ยาไม่บ่อยหรือนานครั้ง ไม่ค่ยมีผลต่อร่างกาย
แต่ถ้าใช้ติดต่อเพียงชั่วระยะเวลาหนึ่งจะทำให้มีผลต่อร่างกายและจิตใจ มีลักษณะ 4
ประการ คือ
1.1 มีความต้องการอย่างแรงกล้าที่จะเสพยาหรือสารนั้นอีกต่อไปเรื่อๆ
1.2 มีความโน้มเอียงที่จะเพิ่มปริมาณของยาเสพติดขึ้นทุดขณะ
1.3 ถ้าถึงเวลาที่เกิดความต้องการแล้วไม่ได้เสพ จะเกิดอาการอยากยา หรืออาการขาดยา เช่น หาว อาจียน น้ำตาน้ำมูกไหล ทุรนทุราย คลุ้มคลั้ง โมโห ขาสติ
1.4 ยาที่เสพนั้นจะไปทำลายสุขภาพของผู้เสพทั้งร่างกาย ทำให้ซูบผอม มีโรคแทรกซ้อน และทางจิตใจ เกิดอาการทางประสาท จิตใจไม่ปกติ
1.1 มีความต้องการอย่างแรงกล้าที่จะเสพยาหรือสารนั้นอีกต่อไปเรื่อๆ
1.2 มีความโน้มเอียงที่จะเพิ่มปริมาณของยาเสพติดขึ้นทุดขณะ
1.3 ถ้าถึงเวลาที่เกิดความต้องการแล้วไม่ได้เสพ จะเกิดอาการอยากยา หรืออาการขาดยา เช่น หาว อาจียน น้ำตาน้ำมูกไหล ทุรนทุราย คลุ้มคลั้ง โมโห ขาสติ
1.4 ยาที่เสพนั้นจะไปทำลายสุขภาพของผู้เสพทั้งร่างกาย ทำให้ซูบผอม มีโรคแทรกซ้อน และทางจิตใจ เกิดอาการทางประสาท จิตใจไม่ปกติ
2.
ติดยาเสพติดเพราะสิ่งแวดล้อม
วิธีสังเกตผู้ติดยาหรือสารเสพติด
3. ติดเพราะความผิดปกติทางร่างกายและจิตใจใน สังคมที่วุ่นวายสับสน
เปลี่ยนแปลงรวดเร้วดังเช่นปัจจุบัน ทำให้จิตใจผิดปกติง่าย
หากเป็นบุคคลที่มีบุคลิกภาพอ่อนแอในทุกด้าน ทั้งอารมณ์และสติปัญญา
รวมทั้งร่างกายไม่สมบูรณ์แข็งแรงก็จะหาสิ่งยึดเหนี่ยว จะตกเป้นทาสยาเสพติดได้ง่าย
ผู้ที่มีอารมณ์วู่วามไม่ค่อยยั้งคิดจะหันเข้าหายาเสพติดเพื่อระงับอารมณ์
วู่วามของตน เนื่องจากยาเสพติดมีคุณสมบัติในการกดประสาทและกระตุ้นประสาท
ผู้มีจิตใจมั่นคง ขาดความมั่นใจ
มีแนวโน้มในการใช้ยาเพื่อบรรเทาความวิตกกังวลของตนให้หมดไปและมีโอกาสติดยา
ได้ง่ายกว่าผู้อื่น
วิธีสังเกตผู้ติดยาหรือสารเสพติด
1. การเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย สุขภาพทรุดโทรม ผอมซีด ทำงานหนักไม่ไหว
ริมฝีปากเขียวคล้ำและแห้ง ร่างกายสกปรกมีกลิ่นเหม็น ชอบใส่เสื้อแขนยาว กางเกงขายาว
ใส่แว่นดำเพื่อปกปิด
2. การเปลี่ยนแปลงทางจิตใจ อารมณ์หงุดงิดง่าย
พูดจาร้าวขาดความรับผิดชอบต่อหน้าที่ มั่วสุมกับคนที่มีพฤติกรรมเกี่ยวกับยาเสพติด
สุบบุหรี่จัด มีอุปกรณ์เกี่ยวกับยาเสพติด หน้าตาซึมเศร้า ขาดความเชื่อมั่น
จิตใจอ่อนแอ ใช้เงินเปลือง สิ่งของภายในบ้านสูญหายบ่อย
3. แสดงอาการอยากยาเสพติด ตัวสั่น กระตุก ชัก จาม น้ำหมูกไหล
ท้องเดิน ถ่ายอุจจาระเป็นเลือดที่เรียกว่า "ลงแดง"
มีไข้ปวดเมื่อยตามร่างกายอย่างรนแรงนอนไม่หลับ ทุรนทุราย
4. อาสัยเทคนิคทางการแพทย์ โดยการเก็บปัสสาวะบุคคลที่สงสัยว่าจะติดยาเสพติดส่งตรวจ
ใช้ยาบางชนิดที่สามารถล้างฤทธิ์ของยาเสพติด
ปัญหายาเสพติดในสถานศึกษา
ปัญหายาเสพติดในสถานศึกษา
การระบาดของยาเสพติดที่แพร่หลายอยู่ในประเทศไทยเราขณะนี้เป็นปัญหาที่ดูเหมือนว่า
จะไม่มีทางแก้ไขได้สำเร็จ การปราบปรามอย่างรุนแรงทั้งด้วยปืนของตำรวจและด้วยปาก
ของนักการเมือง ไม่มีทีท่าว่าจะหยุดยั้งการแพร่กระจายของยาเสพติดที่แทรกแซง
เข้าไปยัง ประชากรทุกหมู่เหล่า ทุกเพศทุกวัยได้เลย
ปริมาณยาเสพติดที่ยึดได้หากนำมารวมกันทั้งหมดตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน น่าจะนำไปใช้
ถมที่ดินเพื่อก่อสร้างสนามบินแห่งที่สอง เป็นการประหยัดทรายได้มิใช่น้อย
ปัญหายาเสพติดมิใช่ปัญหาของบ้านเราเท่านั้น แต่เป็นปัญหาของทุกประเทศในโลก ต่างกันแต่เพียงระดับความรุนแรงและประเภทของยาเสพติดเท่านั้น
การแก้ปัญหายาเสพติด จำเป็นต้องเข้าใจสาเหตุ และกลไกการเกิดปัญหา เพื่อที่จะได้ หาทางแก้ไขได้ครบวงจร มิใช่ไปเน้นที่จุดใดจุดหนึ่งเท่านั้น
ปัญหายาเสพติดมิใช่ปัญหาของบ้านเราเท่านั้น แต่เป็นปัญหาของทุกประเทศในโลก ต่างกันแต่เพียงระดับความรุนแรงและประเภทของยาเสพติดเท่านั้น
การแก้ปัญหายาเสพติด จำเป็นต้องเข้าใจสาเหตุ และกลไกการเกิดปัญหา เพื่อที่จะได้ หาทางแก้ไขได้ครบวงจร มิใช่ไปเน้นที่จุดใดจุดหนึ่งเท่านั้น
1. ความต้องการฤทธิ์อันพึงประสงค์ของยาเสพติด
สารใดก็ตามที่มีฤทธิ์แบบนี้ต่อผู้เสพ ย่อมทำให้เกิดการเสพติดได้ทั้งสิ้น คนที่ดื่มเหล้าก็ต้องการให้เกิดอารมณ์ครื้นเครง (euphoria) ยาเสพติดชนิดร้ายแรงสามารถทำให้เกิด ความรู้สึกเป็นสุข เคลิบเคลิ้มมากกว่าปกติ ที่เรียกกันในภาษาอังกฤษว่า "high" หรือพวกติดยาเสพติดในบ้านเราเรียกว่า "พี้" ในบรรดาสารเสพติดทั้งหลาย เฮโรอีนเป็นสารที่ทำให้เกิดฤทธิ์แบบนี้มากที่สุด เพราะเป็นสารที่ร้ายแรงที่สุดในกลุ่มที่ทำจากฝิ่น ในทางการแพทย์มีที่ใช้บ้างคือใช้มอร์ฟีนเป็นยาแก้ปวดในผู้ป่วยที่มีอาการปวดรุนแรงเช่นหลังผ่าตัดหรืออาการปวดจากมะเร็งในระยะท้าย
สารใดก็ตามที่มีฤทธิ์แบบนี้ต่อผู้เสพ ย่อมทำให้เกิดการเสพติดได้ทั้งสิ้น คนที่ดื่มเหล้าก็ต้องการให้เกิดอารมณ์ครื้นเครง (euphoria) ยาเสพติดชนิดร้ายแรงสามารถทำให้เกิด ความรู้สึกเป็นสุข เคลิบเคลิ้มมากกว่าปกติ ที่เรียกกันในภาษาอังกฤษว่า "high" หรือพวกติดยาเสพติดในบ้านเราเรียกว่า "พี้" ในบรรดาสารเสพติดทั้งหลาย เฮโรอีนเป็นสารที่ทำให้เกิดฤทธิ์แบบนี้มากที่สุด เพราะเป็นสารที่ร้ายแรงที่สุดในกลุ่มที่ทำจากฝิ่น ในทางการแพทย์มีที่ใช้บ้างคือใช้มอร์ฟีนเป็นยาแก้ปวดในผู้ป่วยที่มีอาการปวดรุนแรงเช่นหลังผ่าตัดหรืออาการปวดจากมะเร็งในระยะท้าย
ประสบการณ์ของผู้ติดยาเสพติดทั้งหลายต่างยอมรับว่า เฮโรอีน ให้ผลอันพึงประสงค์ ต่อผู้เสพ ได้มากที่สุด โดยเฉพาะเฮโรอีนเกล็ดขาวบริสุทธิ์ที่มีขายในบ้านเรา แต่ในปัจจุบันนี้ ราคาสูงมาก จนทำให้ผู้เสพหันไปใช้สารอื่นที่มีราคาถูกกว่า เช่น สารกระตุ้นระบบประสาทส่วนกลาง ซึ่งแอมเฟตามีนเป็นตัวที่ขายดีที่สุด สารพวกนี้มีฤทธิ์เสพติดน้อยกว่า และอาการถอนยาไม่รุนแรงเท่าเฮโรอีน แต่ทำให้เกิดอากุนแรงเท่าเฮโรอีน แต่ทำให้เกิดอากความต้องการฤทธิ์อันพึงประสงค์ของยาเสพติด ทำให้ผู้ติดยาทั้งหลายไขว่คว้าหามาเสพ ไม่ว่าจะต้องแลกด้วยอะไรก็ตาม และก็มิใช่ว่าจะไม่รู้โทษภัยของมัน แม้ว่าจะตั้งชื่อใหม่ว่า "ยาบ้า" หรือ "ยานรก" ก็ตามที เปรียบดังคนที่มัวเมาหลงใหลในกามรส เกิดอาการหน้ามืด จนไม่กลัวเอดส์ อย่างนั้น
พฤติกรรม การเลียนแบบ
พฤติกรรม การเลียนแบบ
ปัจจัยนี้เป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับบุคลิกภาพ
ค่านิยมของสังคมและวัฒนธรรม
กลุ่มคนที่มีพฤติกรรมเลียนแบบคนอื่นได้ง่ายได้แก่เด็กและคนที่ขาดเอกลักษณ์ของตนเอง
หรือคนที่ไม่มีจุดยืนนั่นเอง
วัยรุ่นเป็นวัยที่มีการเลียนแบบเพื่อนได้ง่าย
และกลัวว่าตนเองจะแปลกแยกจากกลุ่มเพื่อน จึงมักทำอะไรตามเพื่อนและอาจถูกชักจูงง่าย
ประกอบกับเป็นวัยที่มักมีความว้าวุ่น สับสน ทางจิตใจได้มาก
จึงพบว่ายาเสพติดแพร่หลายไปได้ง่ายในหมู่วัยรุ่น
สังคมไทยเป็นสังคมที่นิยมเลียนแบบคนอื่นมากกว่าจะคิดเป็นตัวของตัวเอง
เห็นเขาทำอะไร ก็จะทำตามเขาบ้าง ดังคำพังเพยที่รู้จักกันมานานว่า
"เห็นช้างขี้ ก็ขี้ตามช้าง"
เห็นฝรั่งใส่ชุดยีนก็ใส่ตามเขาทั้งทีอากาศร้อนแทบตายอยู่แล้ว
เห็นเขาดื่มไวน์ก็อยากดื่มตามเขา โดยไม่รู้ว่าเหมาะหรือควรแค่ไหน
เวลาไปต่างประเทศจะมีคนส่วนหนึ่งขนเงินไปซื้อนาฬิการาคาแพง, กางเกงยีนบางยี่ห้อ, กระเป๋าบางยี่ห้อ
ฯลฯ โดยที่ไม่รู้สรรพคุณด้วยซ้ำว่าสิ่งเหล่านั้นมีข้อดีข้อเสียอย่างไร
ขอให้ได้ทำตามเขาแล้วก็สบายใจ เราจึงพบว่าคนที่ใช้ยาเพสติดส่วนหนึ่งเริ่มต้นจากการเลียนแบบ
เช่น เริ่มสูบบุหรี่ เพราะเห็นเจมส์บอนด์สูบแล้วโก้ดี
หรือเห็นคนรวยเขาดื่มไวน์ขวดละแสนก็เริ่มดื่มตามเขา จะได้รู้สึกว่ามีความเป็น
รัฐมนตรีหรือความเป็นเศรษฐีเกิดขึ้นในตัว
บางคนอุตส่าห์เสาะแสวงหาโคเคนหรือยาเสพติดชนิดอื่นที่มีราคาแพง เนื่องจากนำเข้า
จากต่างประเทศ เพราะรู้สึกว่าเป็นของสูงหายาก ใช้แล้วจะเป็นคนต่างระดับกับชาวบ้าน
ทั่วไป ความจริงแล้วฤทธิ์ของมันสู้ของที่มีอยู่แล้วในบ้านเราไม่ได้เลย
ปัญหาการแพร่ระบาดของยาเสพติด
ปัญหาการแพร่ระบาดของยาเสพติด
จากสภาพปัญหาดังกล่าว ส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อความเจริญก้าวหน้าของประเทศเป็นอย่างยิ่ง โดยเฉพาะปัญหาทางด้านเศรษฐกิจและสังคมที่นับจะทวีความรุนแรงยิ่งขึ้น จากสถิติพบว่าผู้ติดยาเสพติดจำนวนมากจะเป็นผู้ก่อคดีอุกฉกรรจ์ นอกจากนี้ยังก่อให้เกิดปัญหาอาชญากรข้ามชาติและปัญหาความมั่นคงแห่งชาติอีกด้วย หากปล่อยไว้ให้เนิ่นช้าจะก่อให้เกิดวิกฤตการณ์ทางสังคมอย่างรุนแรงจนไม่สามารถแก้ไขได้ เพราะปัญหายาเสพติดมิใช่เรื่องที่จะสามารถควบคุมให้อยู่ในวงจำกัดได้อีกต่อไป แต่กลับจะเป็นปัญหาระดับชาติที่ลุกลามอย่างไม่จบสิ้น ดังนั้น จึงเห็นสมควรที่ทุกฝ่ายควรให้ความสำคัญกับปัญหาดังกล่าว พร้อมทั้งหามาตรการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดให้บรรลุผลอย่างจริงจัง
การป้องกันการติดยาเสพติดในโรงเรียน หรือสถานศึกษา
การป้องกันการติดยาเสพติดในโรงเรียน
หรือสถานศึกษา
ภัยอันน่ากลัวของยาเสพติดได้ขยายตัวลุกลามเข้าไป
ในรั้วโรงเรียนเพิ่มมากขึ้นทุกที
จนเป็นที่น่าหวั่นเกรงว่า
หากไม่ดำเนินการแก้ปัญหาอย่างเร่งด่วน
อาจสายเกินไปสำหรับเยาวชนและกลายเป็นอุปสรรคสำคัญต่อการพัฒนาประเทศในอนาคต
ในการที่จะแก้ไขปัญหาดังกล่าว จึงได้มีการกำหนดมาตรการต่างๆ ขึ้นมาเพื่อแก้ไขปัญหา
โดยได้แบ่งการแนวทางการดำเนินงานออกเป็นกลุ่มเป้าหมายต่างๆ ดังนี้
1. กลุ่มนักเรียนที่ไม่เคยใช้หรือไม่เคยเกี่ยวข้องกับยาเสพติด เป็นการดำเนินงานป้องกันยาเสพติด แก่กลุ่มนักเรียนที่ไม่มีประสบการณ์ ในการใช้ยาเสพติดเป็นการดำเนินการในด้านการสร้างภูมิคุ้มกันยาเสพติดในระยะยาว โดยมีมาตรการดำเนินงานต่างๆ
- การให้ความรู้หรือผนวกเนื้อหาเกี่ยวกับยาเสพติดเข้าไว้ ในวิชาต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
- การจัดนิทรรศการ
การจัดเสียงตามสายในโรงเรียน
- การจัดกิจกรรมรณรงค์ต่อต้านยาเสพติดในโรงเรียน
- การฝึกทักษะชีวิตเพื่อให้รู้จักปฏิเสธยาเสพคิด
- การใช้กิจกรรมกลุ่มเพื่อน
การบำบัดรักษาและฟื้นฟู
3. กลุ่มนักเรียนที่ติดยาเสพติดกลุ่มนี้โรงเรียนควรประสานให้ผู้ปกครองส่งตัวเข้ารับการบำบัดรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพ
โดยควรทำความเข้าใจทั้งกับตัวผู้ ปกครองและตัวเด็กเอง
ให้เข้ารับการบำบัดรักษาด้วยความสมัครใจ
ซึ่งเมื่อรักษาหายแล้วเด็กสามารถที่จะกลับมาใช้ชีวิตในสังคมได้อย่างปกติกลุ่มนักเรียนที่มีพฤติกรรมค้ายาเสพติดสำหรับกลุ่มนี้
ทางโรงเรียนควรประสานงานกับเจ้าหน้าที่ตำรวจในการดำเนินการปราบปราม
ก่อนที่การแพร่ระบาดจะขยายตัวมากขึ้น
หากเป็นนักเรียนที่มีพฤติกรรมเสพด้วยและค้าด้วย
ควรประสานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อให้การบำบัดรักษาและดำเนินการไปตามกฎหมาย
2. กลุ่มนักเรียนที่มีประสบการณ์ในการใช้
หรือเริ่มทดลองใช้ยาเสพติดบางชนิด แต่ยังไม่ถึงขั้นเสพติดการดำเนินงานในกลุ่มนี้เป็นความจำเป็นเร่งด่วนที่ต้องรีบดำเนินการก่อนที่นักเรียนจะใช้ยาเสพติดที่รุนแรงขึ้น
ซึ่งการหยุดพฤติกรรมดังกล่าวควรให้ความช่วยเหลือแก่นักเรียน ดังนี้
- จัดให้มีมุมบริการปรึกษาแนะแนวหรือให้การปรึกษาปัญหาต่างๆ
แก่นักเรียนที่มีปัญหา
- ใช้กิจกรรมกลุ่มเพื่อนเพื่อปรับพฤติกรรมให้อยู่ในกรอบที่เหมาะสม
- จัดค่ายกิจกรรมในโรงเรียนโดยมีครูอาจารย์คอยดูแลอย่างใกล้ชิด
- ประสานงานกับผู้ปกครองอย่างใกล้ชิดเพื่อร่วมกันแก่ไขปัญหา
27 มกราคม 2558
วิธีการหลีกเลี่ยงยาเสพติด
วิธีการหลีกเลี่ยงยาเสพติด
1. ไม่พูดคุยกับผู้เสพยาในที่ลับตาหรือร่วมวงสนทนากับกลุ่มผู้ใช้ยาเสพติด
2. ไม่กระทำตนเป็นผู้รับฝาก นำส่งหรือหยิบยื่นยาเสพติดให้กับผู้อื่น
3. เลือกคบเพื่อนที่ดี หากิจกรรมที่มีประโยชน์ทำในเวลาว่าง แนะนำเพื่อนให้เลิกยาเสพติด ถ้าหากเพื่อนหลงผิดควรแจ้งให้ผู้ปกครอง ครู อาจารย์ ทราบ
4. อย่าคิดว่าตนเองเลิกยาเสพติดได้แล้ว หากจะใช้นิดหน่อยคงไม่ติดอีก
5. ไม่เข้าไปในแหล่งที่มีการซื้อขายยาเสพติด พยายามนึกถึงผลเสียของการใช้ยาเสพติด
6. หมั่นให้กำลังใจตนเองในการกระทำความดีที่ทำมาอย่างสม่ำเสมอ
7. มองโลกในแง่ดี มีความหวังในชีวิต ไม่ท้อถอย
8. เมื่อมีปัญหาก็ควรปรึกษาพ่อ แม่ ผู้ปกครองหรือบุคคลที่ไว้วางใจ
2. ไม่กระทำตนเป็นผู้รับฝาก นำส่งหรือหยิบยื่นยาเสพติดให้กับผู้อื่น
3. เลือกคบเพื่อนที่ดี หากิจกรรมที่มีประโยชน์ทำในเวลาว่าง แนะนำเพื่อนให้เลิกยาเสพติด ถ้าหากเพื่อนหลงผิดควรแจ้งให้ผู้ปกครอง ครู อาจารย์ ทราบ
4. อย่าคิดว่าตนเองเลิกยาเสพติดได้แล้ว หากจะใช้นิดหน่อยคงไม่ติดอีก
5. ไม่เข้าไปในแหล่งที่มีการซื้อขายยาเสพติด พยายามนึกถึงผลเสียของการใช้ยาเสพติด
6. หมั่นให้กำลังใจตนเองในการกระทำความดีที่ทำมาอย่างสม่ำเสมอ
7. มองโลกในแง่ดี มีความหวังในชีวิต ไม่ท้อถอย
8. เมื่อมีปัญหาก็ควรปรึกษาพ่อ แม่ ผู้ปกครองหรือบุคคลที่ไว้วางใจ
ที่มา : สถาบันธัญญารักษ์
กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
01 มกราคม 2558
การแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชน
ปัจจุบันปัญหายาเสพติดเป็นปัญหาที่กำลังทำลายเศรษฐกิจและสังคมของประเทศแม้ว่าทุกฝ่ายจะพยายามป้องกันแก้ไขปัญหายาเสพติดมาโดยตลอดจากการสำรวจของสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (TDRI) ในปี 2536 ประมาณว่ามีผู้ติดยาเสพติดทั่วประเทศ 1.26 ล้านคน โดยแพร่กระจายไปถึงระดับหมู่บ้านชุมชนซึ่งเป็นรากฐานสำคัญของสังคมและแพร่กระจายเข้าไปในกลุ่มนักเรียน
นักศึกษาและเยาวชนซึ่งเป็นพลังสำคัญของประเทศชาติในอนาคต
สถานการณ์ปัญหาและแนวทางการแก้ปัญหา
จากการศึกษาผลการดำเนินการที่ผ่านมา
สถานการณ์ปัญหาและแนวทางแก้ปัญหาพิจารณาปัจจัยภายในชุมชนวิเคราะห์จุดอ่อนจุดแข็งของชุมชน
พิจารณาปัจจัยภายนอกชุมชนวิเคราห์โอกาส
ข้อจำกัดและภัยคุกคามสามารถนำปไส่การวิเคราะห์เพื่อการแก้ไขปัญหาดังต่อไปนี้
จุดแข็ง
1. ชุมชนสังคมรวมทั้งสื่อมวลชนตระหนักในความรุนแรงของปัญหายาเสพติดและผลกระทบ
จึงให้มีการแก้ไขปัญหาอย่างเร่งด่วนและจริงจังโดยได้มีการรวมตัวกันเพื่อหาทางป้องกัน
ซึงปรากฏว่ามีหลายแห่งประสบผลสำเร็จเป็นที่น่าพอใจ
2. หน่วยงานต่างๆ
ที่เกี่ยวข้องโดยเฉพาะสถาบันธัญญารักษ์และศูนย์บำบัดรักษายาเสพติดประจำภูมิภาคมีการพัฒนาศักยภาพ
ให้มีความพร้อมครอบคลุมและเพียงพอต่อการแก้ปัญหา และประสานงานพร้อมถึงระดับชุมชน
3. มีการกระจายอำนาจโดยให้องค์กรปกครองท้องถิ่น
ซึ่งจะมีส่วนช่วยให้ท้องถิ่นและชุมชนมีขีดความสามารถในการจัดการแก้ไขปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ
จุดอ่อน 1. โครงสร้างของปัญหายาเสพติดเปลี่ยนแปลงไป
เนื่องจากตัวปัญหาเองมีความสลับซับซ้อนนับวันจะขยายตัวเพิ่มขึ้น
และมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา
ยากแก่การแก้ไขเพราะรากเหง้าของปัญหาเกิดจากปัจจัยภายในตัวบุคลและความไร้จิตสำนึก
2. ปัญหาสังคมไทยในเชิงโครงสร้างยังขยายตัวและส่งผลทำให้ปัญหายาเสพติดเพิ่มขึ้น
ทำให้ประชาชนประสบปัญหาด้านจิตใจ
ด้านอาชีพและรายได้บางส่วนหันไปใช้ยาเสพติดและค้ายาเสพติดรวมทั้งปัญหาค่านิยมเรื่องวัตถุนิยมบริโภคนิยม
และอิทธิพลในระดับต่างๆ
3. ข้อมูลที่เกี่ยวข้องขาดความถูกต้องและความน่าเชื่อถือทำให้ไม่สามารถวางแผนและปรับเปลี่ยนการดำเนินงานได้อย่างทันเหตุการณ์
ที่มา : สถาบันธัญญารักษ์
กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)